ลักษณะการนำเสนอและคุณสมบัติผู้นำที่ดีหลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนำ เสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการนำเสนอแล้วจะต้องต้องเลือกรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสม มีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสนับสนุนการนำเสนอด้วยการนำมาเขียนคำกล่าวนำและเนื้อเรื่องตลอดจน คำสรุป รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนูปอุปกรณ์ ตามความเหมาะสมในการนำเสนอผลงานให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
3. มีบุคลิกมั่นใจ
1.1 การเลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะให้การนำเสนอรูปแบบใด จึงจะเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เหมาะกับลักษณะและความต้องการหรือไม่
1.2 การรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอจะต้องทำความเข้าใจข้อมูลต่าง ๆให้แจ่มชัด การนำเสนอเอกสาร ข้อมูลประกอบจะต้องมีความรอบคอบ จัดทำเป็นระบบระเบียบ การนำเสนอผลงานประกอบคำบรรยายภาพ ไม่ควรอธิบายเพียงสิ่งที่อยู่บนจอภาพ ควรพูดถึงที่มาของกระบวนการคิด ปัญหาข้อผิดพลาดและความสำเร็จ เพื่อให้รู้สนใจ ทั้งงานของคุณและตัวคุณเอง
1.3 การเตรียมคำพูด กล่าวนำ เนื้อเรื้อง และคำสรุป เป็นขั้นตอนที่สำคัญ การกล่าวนำให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ ให้ส่วนกลางฟัง ซึ้งไม่ควร จะมีความยาวเกินกว่า 10 % ของเนื้อหาทั้งหมดส่วนเนื้อเรื่อง จะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูลสถิติหลักฐาน มีการคิดเหตุผล และจัดลำดับความคิดนำมาเรียบเรียงถ้อยคำ และเลือกใช้ถ้อยคำให้สื่อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสมส่วนคำสรุป ไม่ควรมีคำกล่าวกวน แต่จะต้องมีความสั้น กระชับ ระหว่าง 5-10 % ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความจากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้ำสาระของเรื่องที่นำเสนอแต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ำความในเนื้อเรื่อง
2. ซ้อมให้ดี
2.1 ซ้อมพูด เมื่อทำสื่อเพื่อการนำเสนอเสร็จ ไม่ได้หมายความว่าคุณนั้นพร้อมจะนำเสนอ ดังนั้นจงซ้อมจน กระทั่งสามารถควบคุมจังหวะและเวลาได้ และไม่รู้สึกเกร่ง ลองหาหนูทดลอง มาฟังคุณซ้อมอาจจะชวนเพื่อนหรือคนที่ไม่รู้จักมาฟังจะดีมากยืนพูด ให้ความสำคัญกับลักษณะ ท่าทางและเสียงพูดของคุณดูว่าฟังพูดตะกุงตะกัก
2.2 ปรับปรุงแก้ไข เป็นส่วนที่จะละเลยไม่ได้ ในการฝึกซ้อมจะพบข้อติดขัด หรือ บกพร่องอยู่ แต่ถ้าปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไขและดำเนินปรับปรุง
3. มีบุคลิกมั่นใจ
3.1 ลักษระการนำเสนอที่ดี โดยทั่วไปควรมีดังต่อไปนี้
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความต้องการที่แน่ชัด อะไร
2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรัด
3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ
4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล
3.2 คุณสมบัติของผู้นำเสนอในการนำเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวในของผู้นำเสนอ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญของความสนใจในการนำเสนอผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะ มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีบุคลิกดี = 10
2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ = 9
3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ = 9
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง= 10
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี= 10
6. มีน้ำเสียงชัดเจน =10
7. มีจิตวิทยาโน้มน้าวใจ= 9
8. มีความสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์ =10
9. มีควาช่างสังเกต =9
10. มีไหวพริบปฎิภาณในคำถามดี =10
เกี่ยวกับฉัน

- TOYA-REY-JI
- กรุงเทพ, ไทย
- สวัสดีครับ ผม โทยะ เรย์ จิ ยินดีที่เข้ามาชมเวปบล๊อกผมน่ะครับ ขอแนะนำตัวเองก่อนเรยล่ะกัน เรนครับ อายุ 21 ปี สูง 177 หนัก 65 สถานภาพ โสด ครับ บัจจุบันเรียนอยู่ที่ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (RBAC) ครับ สายที่เรียน จะเป็น นิเทศศาสตร์ สาขา ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ ตอนนี้อยู่ปีสามแล้วแต่น่ายังเด็กอยู่ อิอิ ลักษณะนิสัยส่วนตัว ร่าเริง มากไปหน่อย ออกจะเกินๆ ดูสุขขุมเป็นผู้ใหญ่ ผิวสีแทน คิ้วติดกัน รวมๆ หล่อโครตๆ อิอิ
วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
งานที่9 เลคเชอร์ไตเติ้ล
สื่อไตเติ้ลรายการเทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง - ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง - ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน - หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า - ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว - ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง - มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู - รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง - ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง - ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน - หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า - ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว - ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง - มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู - รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
เทคนิคการทำงานโดยอิลาสร์
เทคนิคการทำรูปภาพให้เข้าไปอยู่ในตัวอักษร
ขั้นตอนการทำ1. สร้างไฟล์งานใหม่โดยไปที่เมนู File > New แล้วกำหนดพื้นที่ทำงาน2. ใช้เครื่องมือ Type Tool พิมพ์ข้อความ และเปลื่ยนรูปแบบ ขนาดของตัวอักษรที่พาเล็ตต์ Charactor
เสร็จแล้วคลิ๊กขวาที่ตัวอักษรเลือก Create Outline เพื่่อทำให้ตัวอักษณเป็นเส้น Path ดังรูปด้านล่าง
3. ต่อไปคลิ๊กขวาที่ตัวอักษรนี้แล้วเลือก Ungroup เพื่อทำให้ตัวอักษรแยกออกจากกลุ่มเป็นตัวใครตัวมัน
4. ต่อไปใช้คำสั่ง File > Place เพื่อเรียกรูปภาพเข้ามา แล้วเลือกรูปภาพตามที่ต้องการ5. มีตัวอักษรทั้งหมด 3 ตัว ก็ต้องเรียกภาพทั้งหมด 3 ภาพ หรือจะใช้ภาพเดียวแต่เรียกมาทั้งหมด 3 ตัว แล้วทำการย่อขยายให้รูปภาพมีขนาดพอเหมาะพอดีกับตัวอักษรทั้ง 3 ตัว โดยใช้เครื่องมือ Free Transform Tool ดึงย่อขยายภาพ
ขั้นตอนการทำ1. สร้างไฟล์งานใหม่โดยไปที่เมนู File > New แล้วกำหนดพื้นที่ทำงาน2. ใช้เครื่องมือ Type Tool พิมพ์ข้อความ และเปลื่ยนรูปแบบ ขนาดของตัวอักษรที่พาเล็ตต์ Charactor



วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552
งานครั้งที่ 6 การสรางแบเนอร์
ชื่อวง 2 PM
ข้อมูล กลุ่มนักร้องต่างสัญชาติภายใต้แบนด์ JYP ซึงมารวมตัวกันโดยผ่านการคัดเลือก จากการแสดงต่างๆมาเป็นกลุ่มบอยแบดร์แห่งเกาหลีเรียกได้ว่ากระแสความดังของศิลปินชายกลุ่มใหม่ ที่มาพร้อมกับท่าเต้นผาดโผนนามว่า "2PM" ไม่หยุดอยู่ที่เกาหลีเท่านั้น เพราะพวกเขาข้ามน้ำข้ามทะเลเข้ามาขโมยหัวใจสาวๆ ถึงประเทศไทยเลยทีเดียว หลังจากออกซิงเกิ้ลอัลบั้ม Hottest Time of the Day และทันทีที่โมเดิร์นไนน์ทีวี หยิบเอารายการ "Hot Blood Guys ปฏิบัติการหนุ่มล่าฝัน" มาออกอากาศต้อนรับปีใหม่ ก็เรียกกระแสความนิยมเพิ่มมากขึ้นเป็นเท่าตัว เพราะเป็นรายการคล้ายๆ กับเรียลลิตี้โชว์ บอกเล่าเรื่องราวของ "2PM" ว่ากว่าจะมาเป็นศิลปินคุณภาพ และได้ออกอัลบั้มนั้นมีที่มาอย่างไร
"2PM" เป็นวงน้องใหม่แกะกล่อง ที่กำลังได้รับความนิยมอย่างมากในแดนกิมจิ แต่กว่าที่พวกเขาจะก้าวเข้ามาโลดแล่นในวงการบันเทิงได้นั้น ต้องผ่านการฝึกฝนมาอย่างหนัก โดยพวกเขาได้รับคัดเลือกเข้ามาเป็น 1 ใน 13 คน ที่ผ่านการออดิชั่นมาจากทั่วประเทศ จากนั้นก็ต้องเข้าคอร์สฝึกอบรมทั้งการร้อง เล่น เต้น
ซึ่งหลังจากผ่านการฝึกฝนอันเข้มข้นก็ใช่ว่าทั้ง 13 คน จะได้ผ่านเข้ามาในวงการบันเทิง เพราะต้องถูกคัดออกไปอีก 2 คน ให้เหลือเพียง 11 คน ซึ่ง 4 คน ที่เชี่ยวชาญในด้านเพลงจะถูกส่งไปเดบิวในชื่อ "2AM" ส่วนอีก 7 คนเชี่ยวชาญในด้านการเต้น ก็จะได้เดบิวในชื่อวง "2PM" ซึ่งสมาชิก 7 คนของ "2PM" ประกอบด้วย...
ชื่อ – สกุล : Park Jaebeom วันเกิด : 25 เมษายน 1987 (พ.ศ. 2530) ตำแหน่ง : Rapper, นักร้อง ภาษา : อังกฤษ / จีน การศึกษา : Dankook University น้ำหนัก : 55 กิโลกรัม ส่วนสูง : 175 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Kim Junsu วันเกิด : 15 มกราคม 1988 (พ.ศ. 2531) ตำแหน่ง : นักร้อง ภาษา : จีน / อังกฤษ การศึกษา : Donga School for the Arts น้ำหนัก : 73 กิโลกรัม ส่วนสูง : 178 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Ok Tae Cyeon วันเกิด : 27 ธันวาคม 1988 (พ.ศ. 2531) ตำแหน่ง : Rapper, นักร้อง, นายแบบ ภาษา : จีน / อังกฤษ การศึกษา : Dankook University น้ำหนัก : 76 กิโลกรัม ส่วนสูง : 185 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Nichkhun Horvejkul (คุณ - นิชคุณ หรเวชกุล หนุ่มน้อยหน้าใสจากประเทศไทย) เกิด : 24 มิถุนายน 1988 (พ.ศ. 2531) ตำแหน่ง : นักร้อง, นายแบบ, นักแสดง ภาษา : เกาหลี / จีน / อังกฤษ / ไทย การศึกษา : Los Osos High School (USA) น้ำหนัก : 61 กิโลกรัม ส่วนสูง : 181 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Jang Wooyoung วันเกิด : 30 เมษายน 1989 (พ.ศ. 2532) ตำแหน่ง : นักร้อง ภาษา : จีน การศึกษา : Seoul School for the Arts (Dance Major) น้ำหนัก : 65 กิโลกรัม ส่วนสูง : 178 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Lee Junho วันเกิด : 25 มกราคม 1990 (พ.ศ. 2533) ตำแหน่ง : นักร้อง ภาษา : จีน การศึกษา : Ho Won University (Program acting Major) น้ำหนัก : 64 กิโลกรัม ส่วนสูง : 178 เซนติเมตร
ชื่อ – สกุล : Hwang Chansung วันเกิด : 11 กุมภาพันธ์ 1990 (พ.ศ. 2532) ตำแหน่ง : นักร้อง, นายแบบ, นักแสดง ภาษา : จีน น้ำหนัก : 72 กิโลกรัม ส่วนสูง : 182 เซนติเมตร
กลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นทั่วไปจนถึงวัยทำงาน 13- 30 ปี
-บุคคลทั่วๆที่สนใจเพลง แนว K-pop โดยส่วนมาก จะเป็นกลุ่มนักเรียนนักศึกษา ระหว่างอายุ 15-24 ปี
-บุคคลที่ชื่อชอบการใช้ชีวิตแบบเกาหลี
- กลุ่มนักเต้นที่ชื่อชอบการเต้นแนว K-pop
คอนเสริตร์ วันที่ xx/xx/xxxx
อารมณ์คือ หัวข้อของงานคอนเสริตร์ life
mood& Tone



เลค์เชอร์
สร้างแบนเนอร์เอาไว้ใช้งาน
มาดูกันว่าหากต้องการสร้างแบนเนอร์ต้องทำอย่างไร ก่อนอื่นต้องเรียกใช้งานโปรแกรม Adobe ImageReady CS โดยการคลิ้กปุ่ม Start > All Programs > Adobe ImageReady CS แล้วทำดังนี้... 1. สร้างเอกสารใหม่ขึ้นมา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง File > New?
2. จะเห็นหน้าต่าง New Document แล้วไปคลิ้กเลือกรูปแบบเอกสารจากลิสต์บ็อกซ์ Size: โดยไปคลิ้กเลือกเลือกรูปแบบแบนเนอร์ที่โปรแกรมกำหนดมาให้แล้วตามต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม OK
เลือกรูปแบบแบนเนอร์ตามต้องการ
3. จะแสดงหน้าต่างเอกสารแบนเนอร์ว่างๆ ปรากฏขึ้นมา
4. หากต้องการใส่รูปภาพประกอบลงบนแบ็กกราวดน์ลงไป ก็คลิ้กปุ่ม Edit in Photoshop เพื่อไปใส่รูปภาพผ่านโปรแกรม Adobe Photoshop CS หรือหากต้องการเทสีลงไปบนแบ็กกราวนด์ก็ไปคลิ้กเลือกสีที่ต้องการแล้วคลิ้กปุ่ม Paint Bucket Tool เพื่อเทสีไปจาก ImageReady CS ก็ได้
5. หากเลือกไปใส่รูปภาพผ่านโปรแกรม Adobe Photoshop CS ก็จะแสดงหน้าต่างโปรแกรม Adobe Photoshop CS พร้อมเอกสารแบนเนอร์ว่างๆ
6. การใส่รูปภาพก็ให้คลิ้กเปิดรูปภาพขึ้นมา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Open จะแสดงหน้าต่าง Open เพื่อให้คลิ้กเลือกรูปภาพที่ต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม Open
ใส่รูปภาพแบ็กกราวนด์พร้อมปรับแต่ง
7. ใช้เครื่องมือ Move Tool ลากรูปภาพที่ต้องการ ไปวางลงบนแบนเนอร์ก็ให้ใส่รูปภาพที่ต้องการลงไป พร้อมปรับแต่งขนาด หรือคลวามเบลอตามต้องการ 8. แล้วคลิ้กปุ่ม Edit in ImageReady เพื่อกลับไปสร้างแบนเนอร์ต่อในโปรแกรม Adobe ImageReady CS
9. จะกลับมายังหน้าต่างโปรแกรม Adobe ImageReady โดยจะแสดงรูปภาพแบ็กกราวนด์ซึ่งเป็นเฟรมแรก เราต้องการให้แสดงแบนเนอร์อย่างเดียว ให้คลิ้กเลือกรายการ Once
10. มาเริ่มสร้างเฟรมถัดไปหากเราต้องการให้แสดงข้อความให้คลิ้กปุ่ม Duplicates current frame จะแสดงเฟรมแอนิเมชันหมายเลข 2 ขึ้นมา (หากไม่แสดงหน้าต่างเลเยอร์ ให้ไปคลิ้กเมนูคำสั่ง WindowAnimation) แทรกเฟรมใหม่ลงไปพร้อมพิมพ์ข้อความ
11. จากนั้นคลิ้กปุ่มเครื่องมือ Type Tool แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป
12. ในเฟรมที่ 3 มาใส่รูปภาพลงไปกัน โดยการคลิ้กปุ่ม Duplicates current frame เพื่อก็อปเลเยอร์ก่อนหน้านี้
13. ถ้าต้องการแทรกรูปภาพลงไปให้ไปที่หน้าต่างโปรแกรม Adobe Photoshop CS (ซึ่งตอนนี้เปิดค้างอยู่) หรือคลิ้กปุ่ม Edit in Photoshop ก็ได้ แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Open
14. จากนั้นจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Open เพื่อให้คลิ้กเลือกรูปภาพ แล้วคลิ้กปุ่ม Open
15. จะแสดงไฟล์รูปภาพที่ต้องการ แบนเนอร์มีความสูงขนาดประมาณ 340 พิกเซล ก็ให้ผู้ใช้งานตัดภาพโดยใช้เมาส์คลิ้กเลือกบริเวณที่ต้องการ แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง Image > Crop
16. พร้อมปรับแต่งขนาดรูปภาพโดยคลิ้กเมนูคำสั่ง Image > Image Size?
17. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Image Size กำหนดค่าความสูง(Height) ต้องการแล้วคลิ้กปุ่ม OK
18. แต่หากรูปภาพมีขนาดเล็กกว่าแบนเนอร์ก็ไม่ต้องทำอะไร จะแสดงไฟล์รูปภาพที่ต้องการ ให้กดแป้น Ctrl+A แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง Edit > Copy ลงบนรูปภาพที่ต้องการ
ใส่รูปภาพลงบนแบนเนอร์
19. แล้วไปยังแบนเนอร์ของเรา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง Edit > Paste แล้วไปก็อปอีกรูปภาพมาวางลงไป จากนั้นปรับแต่งตำแหน่งรูปภาพตามต้องการ 20. แล้วคลิ้กปุ่ม Edit in ImageReady เพื่อกลับไปสร้างแบนเนอร์ต่อในโปรแกรม Adobe ImageReady CS
21. ที่นี้ไปกำหนดการแสดงของภาพในแต่ละเฟรม ซึ่งตอนนี้ทั้ง 3เฟรมจะมีรูปภาพเหมือนกัน
22. โดยให้ไปคลิ้กที่เฟรมหมายเลข 1 ต้องการให้แสดงเฉพาะแบ็กกราวนด์ว่างๆ ให้ไปที่พาเนลเลเยอร์ แล้วคลิ้กยกเลิกไอคอน รูปดวงตา หน้ารูปภาพและข้อความออกไปเพื่อยกเลิกการแสดง
23. จากนั้นไปยังตำแหน่งเฟรมที่ 2 เพื่อกำหนดให้แสดงข้อความ โดยการไปคลิ้กเลือกที่เฟรม 2
กำหนดค่าเฟรมที่ 1
กำหนดค่าเฟรมที่ 2
24. แล้วคลิ้กช่องไอคอนรูปดวงตาในเลเยอร์ข้อความ จะแสดงข้อความในหน้าต่างพรีวิวทันที
25. ไปเฟรมที่ 3 เพื่อกำหนดให้แสดงข้อความและรูปภาพ โดยการไปคลิ้กเลือกที่เฟรม 3
26. แล้วคลิ้กช่องไอคอนรูปดวงตาในเลเยอร์ข้อความและรูปภาพทั้งหมด จะแสดงผลลัพธ์ในหน้าต่างพรีวิวทันที
กำหนดเวลาในการแสดงผลของอนิเมชัน
27. จากนั้นกำหนดช่วงเวลาในการแสดงในแต่ละเฟรม โดยการคลิ้กกำหนดเวลาใต้เฟรม จากค่า 0 sec. แล้วเลือกเวลาหน่วงที่ต้องการอาจเป็น 1 sec. โดยต้องกำหนดเวลาให้กับทุกเฟรมอาจเท่ากับ หรือแตกต่างกันก็ได้แล้วแต่ความต้องการ
28. จากนั้นทดลองชมแอนิเมชันผ่านทางโปรแกรม ให้คลิ้กปุ่ม Play/stop animation
29. หากต้องการให้แอนิเมชันทำงานวนไปเรื่อยให้คลิ้กเลือกที่รายการ Forever
ทดลองพรีวิวอนิเมชันผ่าน Internet Explorer
หลังจากมีการสร้างแอนิเมชันเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ได้เวลาทดลองดูการทำงานแอนิเมชันบนเว็บ
30. เมื่อเปิดแอนิเมชันที่ต้องการขึ้นมา ให้คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Preview In > iexplore
31. จากนั้นจะแสดงหน้าต่างไออีพร้อมแสดงแอนิเมชัน พร้อมรายละเอียดของไฟล์พร้อมทั้งโค้ดที่ผู้ใช้งานสามารถก็อปไปใช้งานได้ทันทีโดยต้องมีการอ้างถึงรูปภาพด้วย (จากบรรทัด ) พร้อมก็อปไฟล์ต้นฉบับไปวางยังโฟลเดอร์ที่ต้องการ
เอ็กพอร์ตเป็นไฟล์ Gif Animation
เมื่อสร้างชิ้นงานอนิเมชันจนพอใจแล้ว ทดลองดูผลงานแล้วก็ต้องทำการบันทึกออกมาเป็นไฟล์ .GIF เพื่อนำไปใช้งาน
32. ไปที่หน้าต่าง Adobe ImageReady CS แล้วคลิ้กแถบ 2-Up เพื่อเปรียบเทียบค่ารูปภาพต้นฉบับกับรูปภาพที่บีบอัดขนาดให้น้อยลง
33. สังเกตขนาดไฟล์ที่แตกต่างกัน และจำนวนเวลาหากใช้ความเร็วโมเด็มที่ 28.8 Kbps ผู้ใช้งานสามารถคลิ้กเลือกระดับของโมเด็มเพื่อทดสอบว่าหากผู้เปิดชมใช้โมเด็มความเร็วในระดับต่างๆ จะใช้เวลารอนานเท่าไรถึงจะแสดงแอนิเมชัน
เลือกแบนเนอร์ตามระดับของโมเด็มที่ต้องการ
34. เมื่อได้ขนาดไฟล์ คุณภาพไฟล์ และเวลาที่ต้องการ ให้คลิ้กเลือกแบนเนอร์ที่ต้องการ
35. จากนั้นให้คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized
36. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized เพื่อให้พิมพ์ชื่อไฟล์ลงไป แล้วคลิ้กปุ่ม Save คราวนี้ก็สามารถนำไฟล์ gif อนิเมชันไปใช้งานได้ทันที
เอ็กพอร์ตอนิเมชันเป็นไฟล์ Macromedia Flash (SWF)
นี่ก็เป็นอีกหนึ่งฟีเจอร์ใหม่ที่เพิ่มขึ้นใน Adobe ImageReady CS โดยเราสามารถทำการเอ็กพอร์ตไฟล์อนิเมชันเป็นไฟล์นามสกุล .swf โดยทำได้ดังนี้ 37. คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Export > Macromedia Flash SWF
การเอ็กพอร์ตเป็นไฟล์ในรูปแบบ Macromedia Flash
38. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Macromedia Flash (SWF) Export เพื่อให้กำหนดค่าไฟล์ แล้วคลิ้กปุ่ม OK
39. จากนั้นจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Export As Macromedia SWF เพื่อพิมพ์ชื่อไฟล์แล้วคลิ้กปุ่ม Save
40. ให้ทดลองไปคลิ้กเปิดไฟล์ที่ได้จากการเอ็กพอร์ต เพื่อทดสอบการทำงาน
การสร้างอิมเมจแมป
การสร้างอิมเมจแมปนั้นปกติจะถูกนำไปใช้งานเว็บเพจ โดยการให้ผู้ใช้งานคลิ้กลงบนไปยังตำแหน่งที่กำหนดเอาไว้ แล้วกระโดดไปยังหน้าเว็บเพจที่ต้องการได้ทันที
41. ให้ไปเปิดไฟล์รูปภาพที่ต้องการทำ Image Map ขึ้นมา จากนั้นคลิ้กเลือกเครื่องมือ Rectangle Image Map Tool
เลือกตำแหน่งที่ต้องการสร้างเป็นอิมเมจแมป
42. แล้วใช้เมาส์ลากลงยังตำแหน่งที่ต้องการให้ผู้ใช้งานคลิ้ก แล้วเปิดเว็บเพจไปยังหน้าที่กำหนดเอาไว้
43. ในพาเนล Image Map จะแสดงชื่อเป็น ImageMap_01 ให้กำหนด URL ที่ต้องการให้เปิดเว็บเพจข้อมูล, Target: เป็นการกำหนดการแสดงเพจ, Alt: พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้แสดงเมื่อเมาส์ไปวงเหนือรูปภาพ
44. ในกรณีที่ต้องการอิมเมจแมปอันถัดไปแต่ต้องการรูปทรงเป็นวงกลม ให้คลิ้กปุ่ม Rectangle Image Map Tool แล้วเลือกไปที่ Circle Image Map Tool
45. แล้วใช้เมาส์ลากเพื่อเลือกตำแหน่งที่ต้องการ
เลือกสร้างอิมเมจแมปเป็นแบบวงกลม
46. ในพาเนล Image Map จะแสดงชื่อเป็น ImageMap_02 ให้กำหนด URL ที่ต้องการให้เปิดเว็บเพจข้อมูล, Target: เป็นการกำหนดการแสดงเพจ, Alt: พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้แสดงเมื่อเมาส์ไปวงเหนือรูปภาพ
47. หากต้องการสร้างอิมเมจแมปอีกก็ให้ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ หากต้องการพรีวิวผ่านไออีให้คลิ้กปุ่มไอคอนไออี บนแถบเครื่องมือ Tool
48. โปรแกรมจะสั่งเปิดหน้าต่างอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ พร้อมแสดงอิมเมจแมปตำแหน่งใดที่กำหนดไว้ เมื่อนำเมาส์ไปวางเหนือรูปภาพเคอร์เซอร์จะถูกเปลี่ยนเป็นรูปมือทันที การบันทึกไฟล์อิมเมจแมป เมื่อสร้างไฟล์เอกสารที่เป็นอิมเมจแมปเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องมาทำการบันทึกเพื่อนนำไฟล์ดังกล่าวไปใช้งาน
49. หากต้องการกำหนดค่าเกี่ยวกับ Image Map ให้ไปคลิ้กที่เมนูคำสั่ง File > Output Settings > Image Maps
50. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Output Settings เพื่อให้เลือกรูปแบบ ให้คลิ้กปุ่ม Next เพื่อกำหนดค่าๆ ในหน้าถัดไป
51. เมื่อกำหนดค่าเสร็จแล้วให้คลิ้กปุ่ม OK เลือกคุณภาพและขนาดไฟล์ของอิมเมจแมปตามต้องการ
52. คลิ้กที่แถบ 4-Up แล้วคลิ้กเลือกไฟล์ที่มีคุณภาพและขนาดไฟล์ที่เหมาะสมต่อการดาวน์โหลดไปใช้งาน
53. คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized As...
54. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized As ให้กำหนดชื่อในช่อง File name:, เลือก Save as type: เป็น HTML and Image (*.html) แล้วคลิ้กปุ่ม Save
การหั่นรูปภาพด้วย Slice ในบางครั้งหากต้องนำรูปภาพขนาดใหญ่ขึ้นไปบนหน้าเว็บเพจ แน่นอนว่าต้องใช้เวลาดาวน์โหลดนาน และอาจดดาวน์โหลดไม่ได้ในบางครั้ง หากต้องการให้การดาวน์โหลดใช้เวลาน้อยลง เราก็ต้องนำรูปภาพมาแบ่งออกเป็นส่วนๆ
ใช้เครื่องมือ Slice Tool เพื่อหั่นภาพ
55. เปิดไฟล์รูปภาพที่ต้องการขึ้นมา แล้วไปคลิ้กปุ่ม Slice Tool เพื่อเลือกเครื่องมือในการหั่นภาพ
56. จากนั้นให้ไปลากลงรูปภาพเพื่อแบ่งรูปภาพออกเป็นส่วนๆ
57. หากต้องการจะแบ่งอีกก็สามารถใช้เครื่องมือ ลากแบ่งส่วนตามต้องการ
58. จากนั้นทดลองดูไฟล์ที่ได้จากการทำ Slice โดยให้คลิ้กปุ่มไอคอนอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์บนแถบเครื่องมือ Tool
59. จะแสดงหน้าไออีพร้อมแสดงรูปภาพ ทันทีจะพบว่าเมื่อรูปภาพแต่ละส่วนที่ถูกโหลด สุดท้ายก็จะกลายเป็นรูปภาพที่ต้องการ
การบันทึกไฟล์ Slice
หลังจากสร้างไฟล์รูปภาพที่ถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆอัตโนมัติ เสร็จแล้วก็ทำการบันทึกเพื่อนำมาใช้งานต่อไป
เลือกรูปภาพที่ต้องการ
60. คลิ้กที่แถบ 4-Up แล้วคลิ้กเลือกไฟล์ที่มีคุณภาพและขนาดไฟล์ที่เหมาะสมต่อการดาวน์โหลดไปใช้งาน 61. แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized As... 62. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized As ให้กำหนดชื่อในช่อง File name:, เลือก Save as type: เป็น HTML and Image (*.html) แล้วคลิ้กปุ่ม Save 63. ในโฟลเดอร์ดังกล่าวจะประกอบไปด้วยไฟล์ html และโฟลเดอร์จัดเก็บรูปภาพ จากตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม Adobe ImageReady CS จะเห็นแล้วว่า เราสามารถสร้างสรรค์งานออกแบบเว็บเพจได้อย่างง่ายดาย ช่วยอำนวยความสะดวกมากทีเดียว รวมถึงรูปแบบเว็บไซต์ก็จะดูดีและทันสมัยอีกด้วย สำหรับคนที่ใช้โปรแกรมอื่นอยู่ ลองหันมาใช้โปรแกรมนี้รับรองว่าใช้งานได้ไม่ยากและให้ผลลัพธ์ที่น่าทึ่งออกมาอีกด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)